การออกแบบถนน Road Design หมายถึง การทำรูปแบบองค์ประกอบของถนนให้ถูกต้องกับหลักการความปลอดภัย Geometric Design และเหมาะสมกับข้อมูลการออกแบบ โดยอาศัยข้อมูลจากการสำรวจจากสนามและจัดเก็บจากสถิติเพื่อนำมาใช้เพื่อการออกแบบถนน
ข้อมูลและส่วนประกอบการออกแบบ Road Design Data
1.แนวทางเดิม (Existing roadway)
2.ข้อมูลของรุปหน้าตัดถนนหรือข้อมูลเปรียบเทียบ Geometric Design ระหว่างถนนเก่าและถนนใหม่ (Cross section or geometric figures comparing the existing and proposed conditions)
3.การจำแนกลำดับชั้นของถนน (Function Classification)
4.การควบคุมจุดเชื่อมต่อ (Control of access)
5.ปริมาณการจราจราจร (Traffic )
6.ระดับให้บริการและความจุ (Level of service and capacity)
7.ยวดยานพาหนะที่เลือกใช้สำหรับการออกแบบ( Design Vehicles)
8.สภาพถูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม (Geographic and Environmental)
9.เศรษฐกิจ (Economic evaluations)
10.ค่าใช้จ่ายงบประมาณ (Mitigation costs)
11.ข้อมูลประกอบอื่นๆ (Other pertinent factors)
มาตรฐานการออกแบบ Geometric Design
มาตรฐานการออกแบบ Geometric Design กรมทางหลวงของไทย(Ministry Of Transport And Communications Department Of Thailand) ยึดถือการออกแบบตาม American Association of State Highway Transportation Officials, (AASHTO)
- ความเร็ว Design speed
- ความกว้างช่องจราจร Lane widths
- ไหล่ทาง Shoulder
- โค้งราบ Horizontal alignment
- โค้งดิ่ง Vertical Curve
- ความลาดชันถนน Minimum and Maximum Grades
- ลาดคันทาง Cross Slopes
- การยกโค้ง Superelevation
- ระยะปลอดภัยของการหยุดรถ Stopping sight Distance
- ระยะการมองเห็นทางราบ Horizontal clearance
- ระยะการมองเห็นทางดิ่ง Vertical clearance
การออกแบบถนนรวมถึงการออกแบบ Road Design include the data
- Bridge Dimension
- Structural capacity
- Ancillary
- ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
- ระบบระบายน้ำ
- เกาะกลางถนน
- ทางเท้า
- ศาลาที่พักผู้โดยสาร
- ทาสีตีเส้น ช่องแบ่งการจราจร สัญลักณ์
- ป้ายจราจร
องค์ประกอบโค้ง Curve Element
โค้งราบ Horzontal Curve
Δ = มุมหักเหหรือมุมเบี่ยงเบน Deflection Angle
PI = จุดหักเหหรือจุดเบี่ยงเบนแนวเส้นทาง Point of Intersection
PC = จุดเริ่มโค้ง Point of Curvature
PT = จุดสิ้นสุดโค้ง Point of Tangentcy
R = รัศมี Radius
L = ความยาวโค้ง Length of Curve
LC = ระยะตรงจากจุด P.I ถึงจุด P.T, Long Chord
D = มุมที่รองรับระยะโค้งยาว 100 เมตร. Degree of Curve
T = ระยะทางตรงจากจุด PC. ถึง PI. Tangent Distance
E = ระยะจากจุด PI. ถึง จุด กึ่งกลางโค้ง External Distance
M = ระยะจากกึ่งกลางความยาวโค้งถึงระยะกึ่งกลางคอร์ด(LC) Middle Ordinate
โค้งดิ่ง Vertical Curve
โค้งดิ่ง Vertical Curve คือ การปรับระดับแนวลาดชันของถนนที่แนวความชัน(Grade)เดียวกันตามแนวยาวของถนนที่มีจุดหักจากการตัดกันของเส้นระดับในแนวดิ่ง ซึ่งจะมีสองลักษณะ คือ โค้งคว่ำ Crest Curve โค้งหงาย Sag Curve ซึ่งการเชื่อมต่อเป็นลักษณะ Parabola Curve การกำหนดจะยึดถือความลาดชัน ความเร็ว ปริมาณการจราจร ระยะการมองเห็นทางดิ่ง
PVI = Point Of Vertical Intersection
BVC = Vertical Tangent-Curve Intersect
EVC = Vertical Curve-Tangent Intersect
g1% , g2% = Gradient or Percent Grade
ข้อมูลและส่วนประกอบการออกแบบ Road Design Data
1.แนวทางเดิม (Existing roadway)
2.ข้อมูลของรุปหน้าตัดถนนหรือข้อมูลเปรียบเทียบ Geometric Design ระหว่างถนนเก่าและถนนใหม่ (Cross section or geometric figures comparing the existing and proposed conditions)
3.การจำแนกลำดับชั้นของถนน (Function Classification)
4.การควบคุมจุดเชื่อมต่อ (Control of access)
5.ปริมาณการจราจราจร (Traffic )
6.ระดับให้บริการและความจุ (Level of service and capacity)
7.ยวดยานพาหนะที่เลือกใช้สำหรับการออกแบบ( Design Vehicles)
8.สภาพถูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม (Geographic and Environmental)
9.เศรษฐกิจ (Economic evaluations)
10.ค่าใช้จ่ายงบประมาณ (Mitigation costs)
11.ข้อมูลประกอบอื่นๆ (Other pertinent factors)
มาตรฐานการออกแบบ Geometric Design
มาตรฐานการออกแบบ Geometric Design กรมทางหลวงของไทย(Ministry Of Transport And Communications Department Of Thailand) ยึดถือการออกแบบตาม American Association of State Highway Transportation Officials, (AASHTO)
- ความเร็ว Design speed
- ความกว้างช่องจราจร Lane widths
- ไหล่ทาง Shoulder
- โค้งราบ Horizontal alignment
- โค้งดิ่ง Vertical Curve
- ความลาดชันถนน Minimum and Maximum Grades
- ลาดคันทาง Cross Slopes
- การยกโค้ง Superelevation
- ระยะปลอดภัยของการหยุดรถ Stopping sight Distance
- ระยะการมองเห็นทางราบ Horizontal clearance
- ระยะการมองเห็นทางดิ่ง Vertical clearance
การออกแบบถนนรวมถึงการออกแบบ Road Design include the data
- Bridge Dimension
- Structural capacity
- Ancillary
- ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
- ระบบระบายน้ำ
- เกาะกลางถนน
- ทางเท้า
- ศาลาที่พักผู้โดยสาร
- ทาสีตีเส้น ช่องแบ่งการจราจร สัญลักณ์
- ป้ายจราจร
องค์ประกอบโค้ง Curve Element
โค้งราบ Horzontal Curve
Δ = มุมหักเหหรือมุมเบี่ยงเบน Deflection Angle
PI = จุดหักเหหรือจุดเบี่ยงเบนแนวเส้นทาง Point of Intersection
PC = จุดเริ่มโค้ง Point of Curvature
PT = จุดสิ้นสุดโค้ง Point of Tangentcy
R = รัศมี Radius
L = ความยาวโค้ง Length of Curve
LC = ระยะตรงจากจุด P.I ถึงจุด P.T, Long Chord
D = มุมที่รองรับระยะโค้งยาว 100 เมตร. Degree of Curve
T = ระยะทางตรงจากจุด PC. ถึง PI. Tangent Distance
E = ระยะจากจุด PI. ถึง จุด กึ่งกลางโค้ง External Distance
M = ระยะจากกึ่งกลางความยาวโค้งถึงระยะกึ่งกลางคอร์ด(LC) Middle Ordinate
โค้งดิ่ง Vertical Curve
โค้งดิ่ง Vertical Curve คือ การปรับระดับแนวลาดชันของถนนที่แนวความชัน(Grade)เดียวกันตามแนวยาวของถนนที่มีจุดหักจากการตัดกันของเส้นระดับในแนวดิ่ง ซึ่งจะมีสองลักษณะ คือ โค้งคว่ำ Crest Curve โค้งหงาย Sag Curve ซึ่งการเชื่อมต่อเป็นลักษณะ Parabola Curve การกำหนดจะยึดถือความลาดชัน ความเร็ว ปริมาณการจราจร ระยะการมองเห็นทางดิ่ง
Publisher by lllinoris Department of transportation
PVI = Point Of Vertical Intersection
BVC = Vertical Tangent-Curve Intersect
EVC = Vertical Curve-Tangent Intersect
g1% , g2% = Gradient or Percent Grade
No comments:
Post a Comment
Note: Only a member of this blog may post a comment.